top of page

EP.3 : All New Ankle Sprian Checklist

Updated: Feb 9




#ของดีจากคอร์ส EP.3

✅All New Ankle Sprian Checklist

👉คอร์สลูกรักของผมเองครับ 😂

.

ถ้าเราเดินไปถามเพื่อนๆหรือคนรู้จักว่าเคย ข้อเท้าพลิกมาก่อนไหม ผมคิดว่าเกิน 50% จะตอบว่า “เคย” แต่ถ้าถามว่าได้รับการรักษาแบบครบสูตรไหม คำตอบเกินครึ่งก็จะพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า “ไม่เคย”

.

⛹️‍♂️ข้อเท้าพลิกหนึ่งครั้งส่งผลกระทบต่อร่างกายได้มากกว่าที่คิด บางครั้งเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้มีอาการเจ็บหรือปวดในอนาคตตามมาได้อีกเพียบ 🙀

.

ในคอร์สนี้มีไอเดียเด็ดๆ เจ๋งๆมาแชร์เพียบ เชิญติดตามในรูปต่อไปได้เลยครับ 😂

.

ส่วนใครที่อยากช่วยสนับสนุนเพจ ลงทะเบียนเรียนคอร์ส Ankle Sprain Checklist

ได้ที่ ▶️ https://shorturl.at/jFHMO

.





📗 Ep.3-1

แผ่นพังผืดกระชับเอ็นกล้ามเนื้อ

(Ankle Retinaculum)

.

❤️ใครมีปัญหาการจำกล้ามเนื้อใต้เข่า ต้องชอบสิ่งนี้ เพราะสิ่งนี้คือพังผืดที่ช่วย Grouping กล้ามเนื้อบริเวณข้อเท้าของร่างกายเราให้แบ่งเป็น 4 ส่วน พอดีกับ Main action ของเค้าอีกด้วย

.

🔗Flexor Retinaculum : Inversion

🔗Extensor Retinaculum : Dorsiflexion

🔗Superior Peroneal Retinaculum : Eversion

🔗 Triceps Surae : Plantar Flexion

(อันนี้ไม่ใช่พังผืด แต่ขอแถมหน่อย 😂)

.

👉 นอกจากนี้พังผืด Retinaculum อาจจะตึงหรือหย่อนตามการทำงานของกล้ามเนื้อภายในที่มากหรือน้อย จนเกิดปัญหาตามมาเช่น Carpal tunnel syndrome // Tarsal tunnel syndrome

.

#แก้ปัญหา

เนื่องจากโครงสร้างนี้เป็นพังผืด (Fascia) การคลายด้วย myofascial techniques หลากหลายรูปแบบสามารถช่วยให้ความตึงลดลงได้ครับมแต่ต้องถูกทิศทางด้วยนะ✌️ ถ้าสนใจอยากรู้เพิ่มเติม สามารถทักเข้ามาปรึกษาได้ฮะ ▶️ https://lin.ee/IFfmaP7

.

ลงทะเบียนเรียนคอร์ส Ankle Sprain Checklist

ได้ที่ ▶️ https://shorturl.at/jFHMO





📗 Ep.3-2

รูปแบบอุ้งเท้า บอกอะไรเราได้?

(Arch Of Foot)

.

🌏ปัญหาอุ้งเท้าแบน ถือเป็นปัญหาระดับโลกครับ ตั้งแต่ผมเรียนอยู่เมื่อเกือบ 10ปีที่แล้วจนถึงตอนนี้ก็ยังได้รับความนิยม ให้เท้าแบนเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บหลายๆอย่าง…แต่ก็ไม่เสมอไป 🫢

.

ℹ️ลักษณะเท้าบอกอะไรเราได้บ้าง

🔴 Pronated Foot (เท้าแบน: 20% of populations)

  • คนที่มีลักษณะเท้าแบบนี้ มีโอกาสที่เทน้ำหนักเข้าด้านในของร่างกาย และใช้งานกล้ามเนื้อแนวกลางลำตัวมากขึ้น (Medial muscles)

🟡 Normal Arch (เท้าปกติ: 60% of populations)

  • คนที่มีลักษณะเท้าแบบนี้ค่อนข้างจะสมดุล ในการถ่ายน้ำหนัก 2 ข้างให้เท่ากัน ซ้าย-ขวา

🔵 High Arch (อุ้งเท้าสูง: 20% of populations)

  • คนมี่มีบักษณะเท้าแบบนี้ มีโอกาสเทน้ำหนักออกด้านนอกของร่างกาย และใช้กล้ามเนื้อแนวด้านข้างลำตัวมากขึ้น (Lateral muscles)

.

#ประยุกต์ใช้

เนื่องจากเคสคนไข้ โดยส่วนใหญ่มีอุ้งเท้าทั้ง 2 ข้างที่ไม่เท่ากัน เราสามารถปรับอุ้งเท้าของเคสให้เปลี่ยนการลงน้ำหนัก ลดความเจ็บความปวดได้ // นอกจากนี้ยังสามารถปรับการลงน้ำหนักของขาทั้ง 2 ข้างให้กลับมาเท่ากันมากขึ้น หลังจากข้อเท้าพลิกได้ด้วย ช่วยเรื่องการทรงตัวให้กลับคืนมาดีเหมือนเดิม

.

อยากรู้เรื่องอุ้งเท้ามากกว่านี้ ทักเข้ามาสอบถามได้นะฮะ ▶️ https://lin.ee/IFfmaP7

.

ลงทะเบียนเรียนคอร์ส Ankle Sprain Checklist

ได้ที่ ▶️ https://shorturl.at/jFHMO





✅ Ep.3-3

ข้อเท้าพลิกทั้ง 3 แบบ

(Types Of Sprains)

.

🧐สถิติจากแหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือพบว่า…

90% เป็นแบบ Inversion Sprain

7% เป็นแบบ Eversion Sprain และ

3% เป็นแบบ High Ankle Sprain (หายยากสุดๆ🔥)

.

👉การพลิกแต่ละแบบจะมีการบาดเจ็บของเอ็นที่แตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็น

🔥เอ็นตาตุ่มด้านนอก (lateral malleous ligament)

🔥เอ็นตาตุ่มด้านใน (medial malleous ligament)

🔥เอ็นยึดกระดูกหน้าแข้ง(Interosseous membrane)

.

❗️การบาดเจ็บทั้งหมดมีผลทำให้ข้อต่อบริเวณข้อเท้าของเราหลวมและไม่มั่นคงมากพอสมควรอยู่แล้ว หลักจากใช้เครื่องมือรักษาส่วนที่บาดเจ็บ คลายกล้ามเนื้อที่หดเกร็ง “อย่าลืม” ฝึกความมั่นคงและกำลังกล้ามเนื้อขึ้นมา Support ด้วยนะครับ

.

สำหรับท่าบริหารข้อเท้าหลักจากข้อเท้าพลิก ตั้งแต่ Phase เริ่มแรก -> Return to sport phase สามารถทักเข้ามาขอไอเดีย หรือสอบถามเพิ่มเติมได้นะฮะ

.

ลงทะเบียนเรียนคอร์ส Ankle Sprain Checklist

ได้ที่ ▶️ https://shorturl.at/jFHMO


12 views0 comments

Recent Posts

See All
bottom of page