#ของดีจากคอร์ส EP.2
✅All New Shoulder Impingement Checklist
.
ข้อไหล่ถือเป็นข้อต่อที่จำเป็นต้องเคลื่อนไหวได้ดี ถึงจะใช้ชีวิตได้สะดวก / การบาดเจ็บของหัวไหล่ โดยเฉพาะเอ็นหัวไหล่อักเสบ เป็นหนึ่งในอาการที่รักษาได้ไม่ง่าย เพราะมีรายละเอียดในการเคลื่อนไหวเยอะ สมกับชื่อ “Shoulder Complex”
.
😁 สำหรับใครที่กำลังมองหามุมมอง หรือไอเดียในการทำเคสหัวไหล่ รวมไปถึงออกแบบท่าออกกำลังกาย ที่ใช้ดูแลเคสเอ็นหัวไหล่อักเสบ แบบมีคุณภาพ สามารถดูในภาพต่อๆไปได้เลย ❤️
.
ส่วนใครที่อยากช่วยสนับสนุนเพจ ลงทะเบียนเรียนคอร์ส Shoulder Impingement Checklist
ได้ที่ ▶️ https://shorturl.at/jFHMO
.
📗 Ep.2-1
จังหวะการเคลื่อนไหวของหัวไหล่-สะบัก
(Scapulohumeral Rhythm)
.
💪 การแก้ปัญหาเอ็นหัวไหล่ถูกหนีบ (Shoulder impingement) นอกจากเราจะดูข้อต่อหัวไหล่เป็นหลักแล้ว อีกส่วนหนึ่งที่จะขาดไปไม่ได้เลยก็คือ “สะบัก” เนื่องจากไหล่ของเรา เคลื่อนไหวพร้อมกับสะบักที่เรียกว่า “Scapulothoracic Rhythm”
.
ข้อต่อที่สำคัญประกอบด้วย
⚙️ Glenohumeral joint : ข้อต่อหัวไหล่
⚙️ Scapulothoracic joint : ข้อต่อสะบัก
🎡ในอัตราส่วน 2 : 1 ตามลำดับ
.
👉 นั้นหมายความว่าถ้าส่วน สะบัก / หัวไหล่ มีปัญหากล้ามเนื้อตึงไป, ข้อหลวม, หรือมีการบาดเจ็บใดๆกับ 2 ส่วนนี้ จะทำให้เราขยับไหล่ได้ไม่ดี 100% นั้นเอง
.
#แก้ปัญหา
จากประสบการณ์การทำงานที่ผ่านมา ผมพบว่าเมื่อเป็นเอ็นหัวไหล่ถูกหนีบ / อักเสบ การเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อหรือสอนการเคลื่อนไหวที่ดีให้สะบัก+หัวไหล่ ช่วยให้เคสเคลื่อนไหวได้ดีขึ้นมากๆ ถ้าลองรักษาแล้วยังติดขัดยังไม่หาย ทักเข้ามาปรึกษาได้ฮะ ▶️ https://lin.ee/IFfmaP7
.
ลงทะเบียนเรียนคอร์ส Shoulder Impingement Checklist
ได้ที่ ▶️ https://shorturl.at/jFHMO
📗 Ep.2-2
การบาดเจ็บของเอ็นกล้ามเนื้อ
(Tendinopathy)
.
🔱 คือการบาดเจ็บหลักในกลุ่มอาการ Shoulder Impingement // ซึ่งมักจะถูกหนีบเมื่อพยายามยกแขนขึ้นสูงกว่าระดับศีรษะ สามารถแยกชนิดการบาดเจ็บออกมาได้ดังนี้
.
⚠️ Tendinitis : เอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ / บาดเจ็บเฉียบพลัน ⚠️ Tendinosis : เอ็นกล้ามเนื้อบาดเจ็บแบบเรื้อรัง ⚠️ Tenosynovitis : การบาดเจ็บของปลอกหุ้มเอ็นกล้ามเนื้อ
.
*โครงสร้างเอ็นกล้ามเนื้อ ไม่เหมือนกันบริเวณใยเนื้อ (Muscle fibre) เนื่องจากมีตัวรับสัญญานความรู้สึกเป็น Golgi tendon organ ที่ตอบสนองได้ดีต่อน้ำหนัก (load) ได้ดี . #ประยุกต์ใช้
💡การใช้น้ำหนักที่พอดีพอเหมาะ (Optimal load) มาทำ Eccentric - Negative loading กับกล้ามเนื้อที่เอ็นมีการบาดเจ็บอยู่ จะช่วยให้การตอบสนองบริเวณเอ็นกล้ามเนื้อมีมากขึ้น สามารถเสริมสร้างเอ็นกล้ามเน้ือให้หนาตัวขึ้น และซ่อมแซมส่วนที่บาดเจ็บได้เร็วขึ้น ใครอยากได้ท่าบริหารสำหรับกล้ามเนื้อมัดไหน ทักเข้ามาสอบถามได้นะฮะ ▶️ https://lin.ee/IFfmaP7
.
ลงทะเบียนเรียนคอร์ส Shoulder Impingement Checklist
ได้ที่ ▶️ https://shorturl.at/jFHMO
✅ Ep.2-3
💪 ชุดท่าตรวจเอ็นหัวไหล่อักเสบ
( 7 Impingement Test combo)
.
🧩โครงสร้างรอบหัวไหล่ที่โดนกดเบียด และทำให้เกิดอาการเจ็บแหลมออกมาได้มีอยู่เยอะ นอกเหนือจากการคลำเพื่อนหาตำแหน่งที่อักเสบแล้ว เราสามารถใช้ท่าตรวจพิเศษ (Speciali test) ในการยืนยันโครงสร้าง
.
1️⃣ Biceps stress test
2️⃣ Brachialis stress test
3️⃣ Brachioradiais stress test
✅เพื่อเป็นการตรวจว่ากล้ามเนื้อบริเวณ ศอก มีความเกี่ยวข้องกับไหล่ด้วยหรือไม่
.
4️⃣ Neer’s test : (Supraspinatus+bursa)
5️⃣ Empty’s can test : (Supraspinatus)
6️⃣ Hawkin’s Kennedy test : (Ant. Impingement)
7️⃣ External rotation test : (Post. Impingement)
.
#นอกจากนี้
การฝึกการให้แรงในการตรวจนั้นสำคัญ เลือกปรับให้เหมาะสมถึงจะได้ผลการตรวจที่ถูกต้อง / นอกจากนี้ท่าตรวจยังสามารถนำมาทดสอบซ้ำหลังการรักษา เพื่อดูความเปลี่ยนแปลงก่อนหลัง ได้อีกด้วย
.
ใครอยากได้คลิปสอนการตรวจทั้ง 7 ท่า ทักเข้ามา
สอบถามได้นะฮะ ▶️ https://lin.ee/IFfmaP7
.
ลงทะเบียนเรียนคอร์ส Shoulder Impingement Checklist
ได้ที่ ▶️ https://shorturl.at/jFHMO
コメント